ข้อสอบใบขับขี่ พร้อมเฉลย เรื่อง การบำรุงรักษายานยนต์
13/10/2022 | อ่าน 945,250
-
- เติมให้สูงกว่าที่กำหนดเล็กน้อย
- เติมให้ต่ำกว่าที่กำหนดเล็กน้อย
- เติมให้อยู่ในระดับที่กำหนด
- เติมจนล้นแล้วปิดฝา
-
- ติดเครื่องฟังเสียงสายพานเครื่องยนต์
- ใช้นิ้วมือกดสายพานเครื่องยนต์
- ดูด้วยตาเปล่า
- ใช้มือคลำสายพานเครื่องยนต์
-
- น้ำสบู่
- น้ำบาดาล
- น้ำฝน
- น้ำกลั่น
-
- อยู่ระหว่างเกณฑ์สูง-ต่ำ ที่กำหนดไว้ข้างถังพักน้ำ
- ครึ่งถัง
- เติมเท่าไหร่ก็ได้
- เต็มถัง
-
- ขณะจะเปลี่ยนเกียร์
- ขณะจะหยุดรถ
- ขณะขับรถลงทางลาดชัน
- ขณะจะสตาร์ทเครื่อง
-
- เวลาเปียกน้ำจะไม่เกาะยาง
- ยางจะมีสีดำสนิท
- มีรอยแตกร้าวตามแนวขอบยาง
- ยางจะมีสีขาวนวล
-
- เอาเหล็กมาตีที่หน้ายาง
- ดูด้วยตาเปล่า
- ใช้มือคลำ
- ใช้เครื่องวัดลมยาง
-
- ออกตัวได้เร็ว
- จะกระตุกและดับ
- ควบคุมกำลังรถได้ง่าย
- รถจะแรง
-
- ออกตัวดีขึ้นกว่าเดิม
- ประหยัดน้ำมัน
- เข้าเกียร์ง่ายขึ้น
- ทำให้เกียร์มีเสียงดัง
-
- ทำให้หมุนพวงมาลัยง่ายขึ้น
- สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง
- สิ้นเปลืองน้ำมันพาวเวอร์
- ดอกยางสึกเร็วกว่าปกติ
-
- ระบบเบรก
- ระบบไฟฟ้า
- ระบบสตาร์ทเครื่องยนต์
- ระบบช่วงล่าง
-
- ลดความเร็วลงแล้วขับต่อไป
- หยุดรถทันทีกลางถนนห้ามเคลื่อนย้าย
- จอดรถในที่ปลอดภัยแล้วเรียกช่างมาตรวจเช็ค
- ขับต่อไปเรื่อยๆ
-
- ขั้วลบ
- ขั้วไหนก่อนก็ได้
- ทั้งสองขั้วพร้อมกัน
- ขั้วบวก
-
- สีแดง
- สีเขียว
- สีเหลือง
- สีฟ้า
-
- ที่ปัดน้ำฝน
- น้ำในหม้อน้ำ
- น้ำกลั่นแบตเตอรี่
- ตรวจเช็คประตูหน้าต่างรถ
-
- จะหยุดรถได้ตามระยะที่กำหนด
- ล้อจะล็อค และรถจะหมุน
- รถจะค่อยๆ ชะลอความเร็วลง
- ล้อจะล็อค และรถจะหยุดทันที
-
- พวงมาลัยรถจะไร้น้ำหนัก
- พวงมาลัยจะหนัก รถจะเอียง
- รถหยุดกะทันหัน
- เบรกจะไม่ทำงาน
-
- ลดความเร็วแล้วจอดข้างทาง เพื่อปิดฝากระโปรงให้เรียบร้อย
- หักเลี้ยวรถเข้าข้างทางทันที เพื่อปิดฝากระโปรงให้เรียบร้อย
- เบรกกะทันหัน
- เหยียบคันเร่งให้มิดเพื่อฝากระโปรงจะได้กระแทกปิด
-
- กระตุกดึงสายเข็มขัดอย่างเร็ว แล้วสายเข็มขัดต้องล็อค
- ดูว่าเป็นของใหม่หรือไม่
- ดูว่าเข็มขัดมียี่ห้อหรือไม่
- ต้องมีสีเข้มๆ
-
- ไม่มีผลต่อส่วนใดของรถ
- เข้าเกียร์ยากและทำให้เกียร์เสียเร็วกว่าปกติ
- ทำให้น้ำมันเกียร์หมดเร็ว
- เครื่องยนต์กินน้ำมันเครื่อง
-
- ขึ้นเบรกมือ-ปลดเกียร์ว่าง -ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า-เหยียบคลัทช์-สตาร์ทเครื่องยนต์
- ปลดเกียร์ว่าง-ขึ้นเบรกมือ-สตาร์ทเครื่องยนต์
- เหยียบคลัทช์-สตาร์ทเครื่องยนต์
- ปลดเบรกมือ-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า-สตาร์ทเครื่องยนต์
-
- ฝนตกทำให้ถนนชำรุดเป็นหลุมเป็นบ่
- น้ำฝนจะกลายเป็นแผ่นฟิล์มรองรับระหว่างยางกับพื้นถนน
- ถนนคอนกรีตดูดซับน้ำฝนได้เป็นอย่างดี
- น้ำฝนจะชะล้างถนนให้สะอาด
-
- ทดสอบไฟสูง
- ทดสอบไฟฟ้า
- ทดสอบสัญญาณแตร
- ทดสอบระบบเบรก
-
- ตรวจสภาพอากาศ
- ต่อใบอนุญาตขับรถ
- ดูหนังสือแผนที่ทางหลวงแผ่นดิน
- ตรวจแรงดันลมยาง,เบรก,น้ำมันหล่อลื่น
-
- เหยียบเบรกแรงๆ
- ขับรถให้เร็วๆ
- ขับรถช้าๆ เหยียบเบรกเบาๆ แล้วปล่อยหลายๆ ครั้ง
- จอดรถเข้าเกียร์ว่างและเร่งเครื่องยนต์ไว้สัก 10 นาที
-
- หยุดรถที่ปลอดภัย เอาน้ำเย็นมาราดเครื่องยนต์
- หยุดรถที่ปลอดภัย แล้วปล่อยให้เครื่องเย็นก่อน
- หยุดรถที่ปลอดภัย แล้วเปิดฝาหม้อน้ำ เติมน้ำทันที
- หยุดรถที่ปลอดภัย แล้วเอาน้ำมาราดเครื่องยนต์
-
- เวลานั่งรู้สึกเหมือนรถจะกระตุกอยู่ตลอดเวลา
- ยางล้อหน้าสึกหรอ และรถกินน้ำมันมากขึ้น
- ประหยัดน้ำมันแต่เปลืองยาง
- ประหยัดยางแต่เปลืองน้ำมัน
-
- ตรวจเมื่อไรก็ได้
- ขณะที่บรรทุกของหนัก
- ขณะวิ่งใช้งานแล้วประมาณ 2 ชั่วโมง
- ขณะที่ยางยังเย็นอยู่
-
- ใช้น้ำอุ่นล้างและทาจาระบี
- ใช้น้ำส้มสายชูล้าง
- ใช้น้ำมะนาวล้าง
- ใช้น้ำกลั่นล้าง
-
- เติมให้ถึงฝาปิด
- เติมให้สูงกว่าระดับสูงสุด
- เติมให้อยู่ระหว่างระดับสูงสุดและต่ำสุด
- เติมให้ต่ำกว่าระดับต่ำสุด
-
- เติมค่าที่ต่ำกว่าค่าที่กำหนดเพื่อความประหยัด
- เติมน้ำมันที่มีค่าออกเทนตามที่ระบุไว้ในคู่มือรถ
- เติมสูงกว่าค่าที่กำหนดเพื่อป้องกันเครื่องยนต์เสียหาย
- เติมค่าเท่าใดก็ได้ตามความสะดวก
-
- เพราะ จะทำให้หม้อน้ำเป็นสนิมมากยิ่งขึ้น
- เพราะ จะทำให้เครื่องยนต์ชำรุด
- เพราะ น้ำในหม้อน้ำจะร้อนมากยิ่งขึ้น
- เพราะ สำรองเนื้อที่การขยายตัวของน้ำเมื่อเกิดความร้อน
-
- ไฟเลี้ยว
- ปรับกระจกมองข้าม
- ปรับกระจกมองหลัง
- ระบบเบรก
-
- ตัดต่อเครื่องยนต์
- ระบายความร้อน
- ช่วยยึดเกาะถนนไม่ให้ลื่นไถล
- ทำให้รถมีกำลังขับเคลื่อน
-
- เครื่องแรงสตาร์ทติดง่าย
- ทำให้ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์สึกหรออย่างรวดเร็ว
- ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง
- ยืดอายุการทำงานของชิ้นส่วนเครื่องยนต์
-
- ใช้เบรกมือร่วมด้วย
- เปลี่ยนเกียร์และเหยียบเบรกขึ้นลง
- ตรวจสอบระบบเบรกโดยเร็วที่สุด
- เพิ่มความดันของลมยาง
-
- ควรกะระยะในการหยุดรถและเบรกอย่างนุ่มนวล
- ควรเบรกแบบกระชั้นชิด
- ควรเบรกและหมุนพวงมาลัยไปทางซ้ายและขวาเล็กน้อย
- ควรใช้เบรกมือและเบรกเท้าพร้อมกันเมื่อต้องการหยุดรถ
-
- เติมยางรถยนต์ให้มากกว่าปกติ
- เปิดเครื่องปรับอากาศรถยนต์ให้แรง
- เปลี่ยนพัดลมให้แรงขึ้น
- ตรวจระดับน้ำในหม้อน้ำก่อนใช้งานทุกครั้ง
-
- คาดคะเนด้วยสายตา
- เติมเท่าไหร่ก็ได้
- ปฏิบัติตามคู่มือการใช้รถ
- ใช้วิธีเคาะแล้วฟังเสียงยาง
-
- บีบแตรและฟังเสียงว่าปกติหรือเบาลง
- หมุนพวงมาลัยไปด้านซ้ายและขวา
- เหยียบคลัตช์และเข้าเกียร์ให้ครบ
- ออกรถ 2-3 เมตรแล้วทดสอบเบรก
-
- ระบบช่วงล่าง
- ยางรถยนต์
- พวงมาลัย
- เกียร์
-
- เติมน้ำบาดาลในถังหม้อพักน้ำ
- ควรตรวจสอบการรัดตรึงของหัวขั้วแบตเตอรี่ให้มีสภาพพร้อมใช้งานเสมอ
- เติมน้ำมันเครื่องโดยเติมให้อยู่ระดับบนเสมอ
- ควรใช้น้ำกลั่นเติมลงในแบตเตอรี่
-
- แจ้งกู้ภัยทางหลวง
- จอดและสละรถทันที
- ขับรถลงแม่น้ำข้างทาง
- ตั้งสติและขับรถจอดข้างทาง
-
- ป้องกันลมรั่วซึมและสิ่งสกปรกต่างๆ
- ป้องกันการขโมยยาง
- ป้องกันไม่ให้ใครมาเติมลม
- ป้องกันยางแตก
-
- การขับขี่จะนุ่มนวลขึ้น
- ทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง
- ดอกยางด้านข้างจะสึกเร็วกว่าปกติ
- ดอกยางตรงกลางจะสึกหรอเร็วกว่าปกติ
-
- ขณะที่เครื่องยนต์ยังเย็นอยู่
- ขณะที่จอดรถบนเนิน
- หลังดับเครื่องยนต์ทันที
- ขณะที่เครื่องยนต์ทำงาน
-
- น้ำมันหมด
- เครื่องยนต์อุณหภูมิสูงผิดปกติ
- ไม่มีข้อใดถูก
- หัวเทียนดับ
-
- น้ำกลั่นแบตเตอรี่แห้ง
- น้ำมันเครื่องแห้ง
- น้ำในหม้อน้ำแห้ง
- สายพานพัดลมขาด
-
- ช่วยประหยัดน้ำมัน
- เพิ่มการทรงตัวของรถ
- ลดการสึกหรอของผ้าเบรก
- เพื่อเป็นการหน่วงความเร็วของรถ
-
- ระบบระบายความร้อนเสีย
- ระบบระบายความร้อนอยู่ในระดับดีมาก
- เกิดความผิดปกติในระบบระบายความร้อน
- ระดับปกติ
-
- ทำให้ประหยัดน้ำมัน
- ทำให้รถวิ่งเร็วขึ้น
- ระบายความร้อนในห้องผู้โดยสาร
- ระบายความร้อนของเครื่องยนต์
-
- การขับขี่จะแข็งกระด้าง
- ดอกยางตรงกลางจะสึกเร็วกว่าปกติ
- ทำให้ดอกยางทางด้านข้างทั้งสองสึกหรอ
- ทำให้กินน้ำมันน้อยลง
-
- สัปดาห์ละครั้ง
- เดือนละครั้ง
- ทุกครั้งก่อนใช้งาน
- วันละครั้ง
-
- เครื่องยนต์อาจจะระเบิด
- เครื่องยนต์มีเสียงดัง
- เครื่องยนต์จะดับ
- เครื่องยนต์มีแรงดันสูง น้ำร้อนอาจพุ่งขึ้นมา
-
- ระบบปล่อยควันเสียบกพร่อง
- กระปุกเกียร์บกพร่อง
- ระบบเบรกบกพร่อง
- ระบบไฟฟ้าบกพร่อง
-
- ขับด้วยความเร็วคงที่
- เปิดไฟหน้าในขณะขับรถ
- บรรทุกน้ำหนักเกินกว่าที่กำหนด
- ระยะการปรับเบรกปกติ
-
- เครื่องยนต์เย็นจัด
- เครื่องยนต์อุณหภูมิปกติ
- ไม่มีข้อใดถูก
- เครื่องร้อนจัด (Over Heat)
-
- สายพานหย่อน
- น้ำมันเชื้อเพลิงหมด
- ขั้วแบตเตอรี่หลวม
- มอเตอร์สตาร์ทเสีย
-
- การเหยียบเบรกและคันเร่งอย่างรุนแรง
- การควบคุมพวงมาลัยที่ไม่ดี
- การใช้เกียร์สูงเป็นเวลานาน
- การเร่งความเร็วช่วงทางโค้ง
-
- ใช้เทปรัดให้แน่นขึ้น
- ทำการเปลี่ยนท่อใหม่
- ใช้ไปได้จนกว่าจะพบรอยหยดของน้ำมัน
- สลับท่อไปไว้ในท่อแรงดันต่ำ
-
- เติมชนิดที่ถูกเข้าไปเพื่อทำให้เจือจาง
- ขับไปให้หมดถังแล้วเติมชนิดที่ถูกเข้าไป
- ทำการเปลี่ยนถ่ายออกทันที
- ขับไปถ้ามีผลต่อเครื่องยนต์ค่อยถ่ายออก
-
- ไม่ควรขับรถต่อไปเนื่องจากอาจเกิดไฟไหม้ได้
- นำขวดมารองน้ำมันที่รั่วและขับต่อไป
- ใช้เทปรัดและขับไปหาช่าง
- ขับไปหาศูนย์บริการเพื่อทำการซ่อม
-
- จะทำให้รถเคลื่อนตัวได้ช้า
- จะทำให้เสียเวลาในการเดินทาง
- จะทำให้เปลืองน้ำมัน
- จะทำให้ผ้าเบรกไหม้
-
- น้ำกรด
- น้ำยาหล่อเย็น
- น้ำกลั่น
- น้ำมันเครื่อง
-
- เติมน้ำในถังหม้อพักน้ำเมื่อเครื่องยนต์เย็นลง
- เปิดฝากระโปรงเพื่อระบายความร้อน
- ปิดแอร์ เปิดหน้าต่างและจอดรถ
- เอาน้ำราดลงไปที่เครื่องยนต์จะทำให้เครื่องยนต์เย็น
-
- แจ้งกู้ภัย
- ให้สัญญาณเพื่อเตือนให้รถอื่นทราบ
- แจ้งประกันภัยรถยนต์
- แจ้งตำรวจ
-
- เปลี่ยนไปเข้าเกียร์ว่าง
- ติดเครื่องใหม่
- เปิดไฟฉุกเฉิน
- ทำการเบรกทันทีเพื่อไม่ให้รถไหล
-
- เครื่องยนต์
- กระปุกเกียร์
- เบรก
- ยางรถ
-
- เครื่องยนต์มีอาการสะดุด
- เมื่อรถเคลื่อนตัวจะรู้สึกว่ารถออกตัวเร็วขึ้น
- เมื่อหมุนพวงมาลัยจะรู้สึกหนัก
- เมื่อรถเคลื่อนตัวจะรู้สึกว่ารถเร่งความเร็วไม่ขึ้น
-
- เปิดไฟฉุกเฉินและนำรถจอดเข้าข้างทาง
- นำสัญลักษณ์รูปสามเหลี่ยมมาไว้ท้ายรถของท่าน
- ก่อกองไฟข้างทางในกรณีที่รถของท่านเสียเวลากลางคืน
- จอดรถทิ้งไว้กลางถนน
-
- จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ำมันขณะยังไม่ติดเครื่อง หรือดับเครื่องยนต์อย่างน้อย 10 นาที
- จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ำมันขณะยังติดเครื่องยนต์ หรือดับเครื่องยนต์ทันที
- จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ำมันขณะยังติดเครื่องยนต์อยู่
- จอดรถบนพื้นราบ เช็กน้ำมันหลังดับเครื่องยนต์ทันที
-
- ทำความสะอาดหม้อน้ำ
- หล่อลื่นชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่เพื่อลดการสึกหรอ
- ระบายความร้อนออกจากหม้อน้ำ
- ระบายความร้อนจากผ้าเบรก
-
- ก้านวัดน้ำมันเครื่อง
- กรองน้ำมันเครื่อง
- ฝาเติมน้ำมันเครื่อง
- อ่างน้ำมันเครื่อง
-
- ใช้ยางรถที่มีลมยางน้อยเกินไป
- ใช้ยางรถที่ต่างยี่ห้อกัน
- ใช้ยางรถใหม่
- ใช้ยางรถที่มีลมยางมากเกินไป
-
- เบรกจะใช้ไม่ได้
- ยางรถจะแบน
- พวงมาลัยจะเกิดการสั่น
- พวงมาลัยจะดึงไปยังด้านใดด้านหนึ่ง
-
- เครื่องร้อนจัด
- เครื่องเย็น
- เปิดถังพักสำรองหม้อน้ำเพื่อเดิมน้ำ
- เปิดตอนเช้าขณะยังไม่ติดเครื่องยนต์
-
- เร่งเครื่องยนต์ก่อนออกรถ
- ไม่ควรติดเครื่องยนต์ระหว่างจอดรถคอย
- ขับรถด้วยความเร็วที่เหมาะสม
- ไม่บรรทุกของเกินพิกัด
-
- ทำให้ระบบเบรกทำงานดีขึ้น
- ทำให้แอร์ในรถเย็นขึ้น
- ทำให้เครื่องยนต์ติด
- ทำให้หมุนพวงมาลัยได้ดี
-
- หมุนพวงมาลัยอย่างรวดเร็วเพื่อหลบเข้าข้างทาง
- คุมสติ บังคับพวงมาลัย ลดความเร็วลงและไม่ควรเหยียบเบรกกะทันหัน
- ปลดเกียร์ว่างแล้วรีบเหยียบเบรก
- รีบเหยียบเบรกให้เร็วที่สุด
-
- จะทำให้ผ้าเบรกไหม้
- จะทำให้รถไหล
- จะทำให้เร่งเครื่องได้ช้า
- จะทำให้เปลืองน้ำมัน